บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2020

เทคนิค Linux Commans การจัดการ folder ด้วย mkdir และ rmdir

ก่อนอื่นขอแนะนำคำสั่ง mkdir และ rmdir ก่อนนะครับ mkdir คือคำสั่งในการ create folder วิธีใช้งานให้พิมพ์ mkdir ตามด้วยชื่อ folder ที่ต้องการเช่น $ mkdir test ก็คือการสร้าง folder test นั่นเอง rmdir คือคำสั่งในการ delete folder วิธีใช้งานให้พิมพ์ rmdir ตามด้วยชื่อ folder ที่ต้องการเช่น $ rmdir test ก็คือการ delete folder test นั่นเอง เทคนิคในการใช้ mkdir และ rmdir 1. เทคนิคการ create folder ซ้อนกัน เช่น $ mkdir test1/test2/test3   หากตอนนี้ไม่มี folder test1, test2 อยู่จะไม่สามารถ create ได้ โดยจะได้ error mkdir: Failed to make directory "test1/test2/test3"; No such file or Directory หากต้องการ create แบบนี้ให้ใช้คำสั่ง mkdir -p เช่น $ mkdir -p test1/test2/test3 เราจะสามารถ create folder พร้อมๆกันได้ 2. เทคนิคการ delete folder ที่มี folder ซ้อน เช่น $ rmdir test1   จะไม่สามารถ delete ได้เพราะ test 1 มี folder test2, test3 ซ้อนอยู่โดยจะได้ error แบบนี้ rmdir: directory "test1": Directory not empty หากต้องการ delete ให้เกลี้ยงๆ ให้ใช้คำสั่ง r

เทคนิค Linux Commans เพื่อเข้าถึง Directory ด้วยคำสั่ง cd แบบต่างๆ

วันนี้จะมาแนะนำเทคนิคการใช้คำสั่ง cd ซึ่งถือเป็น Basic Linux Commands ลำดับต้นๆ ที่เพื่อนมักจะรู้จักกันดีว่าหน้าที่ของคำสั่ง cd คือการเข้าถึง directory ที่ต้องการนั่นเอง วันนี้มีเทคนิคง่ายๆ ให้ลองใช้กันนะครับ การเข้าถึง Directory แบบระบุ Path ตรงๆ อันนี้ก็ไม่มีอะไรซับซ้อน เช่น        $ cd /var/tmp        เป้นการเข้าไปที่ path /var/tmp นั่นเอง การเข้าถึง Directory ใน Path ภายใต้ directory นั้น เช่น ถ้าตอนนี้เราอยู่ที่ /var        แล้วภายใต้ /var มี folder tmp อยู่ ให้เราพิมพ์คำสั่ง              $ cd tmp   จะทำให้เราเข้าไปใน directory /var/tmp ได้เลยมีค่าเท่ากันกับคำสั่ง        $ cd /var/tmp นั่นเอง               ตรงนี้เพื่อนๆ หลายคนมักจะใช้ผิด โดยการพิมพ์คำสั่งเป็น        $ cd /tmp อันนี้จะเป็นการเข้าไปที่ folder /tmp ที่อยู่ root นอกสุด        ซึ่งถ้ามี folder นี้อยู่ก็จะ cd ไปได้แต่ก็จะไปผิดที่อ่ะนะ T_T การถอยหลัง 1 step ด้วยคำสั่ง cd .. เช่นถ้าตอนนี้เราอยู่ใน path /var/tmp หากพิมพ์คำสั่ง        $cd .. เราจะถอยออกมา 1 ชั้นมาอยู่ที่ path /var นั่นเอง การ

เทคนิคการเรียนรู้ Linux Commands ผ่านคำสั่ง which man และ echo

จากที่ได้เกริ่นไปในบทความก่อนหน้าว่าเราสามารถใช้คำสั่ง man เพื่อดููวิธีการใช้งาน Linux Commands ได้โดยการพิมพ์คำสั่ง man ตามด้วย command ที่เราต้องการรู้เช่น $man ls  $man cat แต่การที่เราจะใช้ man ได้นั้นเราก็ต้องรู้ว่าคำสั่งมีอะไรบ้าง เทคนิคง่ายๆคือทุกๆ คำสั่งมักจะเก็บไว้ในที่เดียวกัน หรือ path เดียวกัน เช่น ถ้าเราอยากรู้ว่า คำสั่ง cat เก็บไว้ที่ใหน ให้เราใช้ which ตามด้วยคำสั่งนั้นๆ เช่น $which cat   output คือ /bin/cat  นั่นหมายความว่า คำสั่ง cat อยู่ที่ path /bin นั่นเอง ดังนั้นถ้าเราอยากรู้ว่ามีคำสั่งอะไรอยู่บ้าง ก็ให้  cd ไปที่ /bin แล้วใช้คำสั่ง ls ดู จะเห็น Linux Command เกือบทั้งหมดในนั้น เราก็ ใช้ คำสั่ง man กับ command ที่เราอยากรู้ได้เลย บางครั้งค่าบางอย่างมักถูกเก็บไว้ในตัวแประ เช่น $PATH ซึ่งเราจะเห็นแค่ชื่อตัวแประถ้าหากเราอยากรู้ว่า Value นั้นคืออะไรให้ใช้คำสั่ง echo ตามด้วยชื่อตัวแปรนั้นได้เลย เช่น $echo $PATH output ส่วนมากจะเป็น /bin:/usr/bin:/usr/sbin:/usr/local/bin นั่นหมายถึง path ที่เราเข้าถึงได้จากทุกที่นั่นเอง สรุป  Linux Command จากบทค

Linux Commands คำสั่ง Linux เบื้องต้น

วันนี้จะมาแนะนำคำสั่ง Linux Commands แบบ Basic เบื้องต้น สำหรับผู้ที่เริ่มศึกษา Linux ใหม่ๆ นะครับเป็นคำสั่งที่ควรจะรู้ไว้ก่อนที่จะเริ่มใช้งาน Linux Commands สำหรับ Developer อย่างเราๆ หลายๆคนคงคุ้นชินกับการ Coding บน Window แต่มาในยุคนี้คงเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเริ่มมาทำงานบน Linux โดยเฉพาะผ่าน Linux Command คำสั่ง Linux เบื้องต้น pwd  ใช้แสดง Working Directory ปัจจุบันที่เราอยู่ตอนนี้ถ้าคิดอะไรไม่ออกหลังจาก login แล้วให้พิมพ์คำสั่ง pwd แล้วเคาะ enter ดูนะครับ output ที่ได้จะเป็น path ที่เราอยู่นั่นเอง ls ใช้แสดง File หรือ Directory ที่อยู่ใน Path นั้นๆวิธีใช้ก็ง่ายๆ พิมพ์ ls แล้วเคาะ Enter ได้เลย cd ใช้เพื่อเข้าถึง Directory นั้นๆ วิธีใช้ ให้เรา พิมพ์ cd ตามด้วย ชื่อ Directory ที่ต้องการ  clear ใช้เพื่อล้างหน้าจอ กรณีที่เรา Run Command เยอะๆ เต็มหน้าจอแล้วอยากล้างเพื่อเริ่มใหม่ก็ให้พิมพ์คำสั่งนี้แล้ว เคาะ Enter ได้เลย cat เอาไว้แสดง content ใน file วิธีใช้ให้เราพิมพ์คำสั่ง cat ตามด้วยชื่อ file ที่ต้องการได้เลย เอาแบบ Basic สุดๆมาฝากแล้วนะครับแต่จริงๆ แล้วคำสั่ง Linux Co

วิธีทำให้ MySQL return count 0 กรณีที่ Query แล้วไม่พบข้อมูล

โดยปรกติ เวลาที่เราทำการ Query จาก MySQL แล้วมีการ คำสั่งในการคำนวณค่า เล่น Count , Sum เป็นต้น ถ้าหากกรณีที่ไม่พขข้อมูลตามเงื่อนไข จะทำให้ไม่ return result ออกมาเลย แล้วถ้าหากเราต้องการให้ return record ที่ value =0 ออกมาล่ะต้องทำอย่างไร ตัวอย่าง select count(*) cnt from test_table where  c_type='test' ; กรณีนี้ถ้า มี record ที่ c_type = test อยู่ก็จะ return จำนวน record ออกมา แต่ถ้าไม่มี จะไม่ได้ result ออกมาเลย    เทคนิคง่ายๆ ในการให้ ได้ result ที่ cnt =0 ก็คือให้เราทำการ union เพิ่มนั่นเอง เช่น select count(*) cnt from test_table where  c_type='test'  union select 0 cnt; ลองดูนะครับ ผลที่ได้ ถ้าหาก count ไม่เจอ ยังไงก็  return 0 ครับ  แต่ก็จะเจอปัญหา ถ้าหาก query เจอ type= test จะทำให้ return 2 record  คือจำนวนตามที่เจอในเงื่อนไข และก็ อีก record คือ 0 แนวทางแก้คือ เอา SUM ครอบอีกชั้นก็ได้ครับ เช่นตามตัวอย่าง select sum(cnt) from ( select count(*) cnt from test_table where  c_type='test'  union select 0 cnt) x; ยังไงก็ลองประยุก